สถานีรถไฟความเร็วสูง : Model การพัฒนาใหม่
ใกล้สรุปเต็มที สำหรับตำแหน่งที่ตั้งสถานีของรถไฟความเร็วสูงเฟสแรก 4 สายทาง ที่มีแนวเส้นทางพาดผ่านพื้นที่ 15 จังหวัด มีทั้งหมด 17 สถานีกระจายไปตาม 4 ภูมิภาค
ล่าสุด "สนข.-สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร" ร่วมกับ "กรมโยธาธิการและผังเมือง" ร่วมกันเคาะตำแหน่งที่เหมาะสมจะสร้างเป็นสถานีรถไฟความเร็วสูง และการพัฒนาเป็นเมืองใหม่โดยรอบสถานีรัศมีตั้งแต่ 1-9 ตร.กม. ควบคู่ไปด้วย
หลัง "รัฐบาลเพื่อไทย" มีนโยบายจะจุดพลุการพัฒนาเมืองคู่ไปกับไฮสปีดเทรน หวังสร้างมูลค่าเพิ่มและรายได้จากการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมจากเอกชนที่สนใจเข้าร่วมลงทุน เหมือนต้นแบบที่ "ญี่ปุ่น" ทำสำเร็จมาแล้ว หากโครงการเดินหน้าไปได้ เตรียมดัน "หัวหิน-ปากช่อง" เป็นโปรเจ็กต์นำร่องการพัฒนา
หลัง "รัฐบาลเพื่อไทย" มีนโยบายจะจุดพลุการพัฒนาเมืองคู่ไปกับไฮสปีดเทรน หวังสร้างมูลค่าเพิ่มและรายได้จากการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมจากเอกชนที่สนใจเข้าร่วมลงทุน เหมือนต้นแบบที่ "ญี่ปุ่น" ทำสำเร็จมาแล้ว หากโครงการเดินหน้าไปได้ เตรียมดัน "หัวหิน-ปากช่อง" เป็นโปรเจ็กต์นำร่องการพัฒนา
สำหรับที่ตั้งจาก 17 สถานี ได้ข้อสรุปแล้ว 14 สถานี เหลือ 3 สถานีที่ "สนข.-กรมโยธาฯ" ยังมีความเห็นไม่สอดคล้องกัน เริ่มที่สาย "กรุงเทพฯ-พิษณุโลก" มี 5 สถานี ประกอบด้วย
1.สถานีอยุธยา ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. ยังไม่สรุปใช้สถานีรถไฟเดิม, อยู่ห่างจากสถานีรถไฟอยุธยาไปด้านใต้ 2 กม. ที่ ต.เกาะเรียน อ.พระนครศรีอยุธยา และสถานีชุมทางบ้านภาชี
2.สถานีลพบุรี ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. อยู่บริเวณสถานีบ้านป่าหวาย ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี ห่างจากสถานีรถไฟลพบุรีลงทางด้านใต้ 5 กม.
3.สถานีนครสวรรค์ ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. เป็นพื้นที่เปิดใหม่ติดถนนพหลโยธิน เป็นที่ราชพัสดุพื้นที่ 3,358 ไร่ บริเวณ ต.นครสวรรค์ออก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ห่างจากสถานีเดิมไปทางด้านซ้าย 2 กม. ห่างจากตัวเมือง 4 กม. ติดถนนพหลโยธิน
4.สถานีพิจิตร ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟเดิมขึ้นไปทางด้านเหนือ 1 กม. และ 5.สถานีพิษณุโลก ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. ยังไม่สรุปจะเป็นสถานีรถไฟเดิม ที่พื้นที่มีหนาแน่น หรือห่างจากสถานีรถไฟลงมาด้านใต้ 4 กม. (ตรงข้ามกองบิน 46) ซึ่งโดยรอบยังเป็นพื้นที่โล่งและเกษตรกรรม
"สายกรุงเทพฯ-หัวหิน" มี 4 สถานี ประกอบด้วย
2.สถานีลพบุรี ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. อยู่บริเวณสถานีบ้านป่าหวาย ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี ห่างจากสถานีรถไฟลพบุรีลงทางด้านใต้ 5 กม.
3.สถานีนครสวรรค์ ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. เป็นพื้นที่เปิดใหม่ติดถนนพหลโยธิน เป็นที่ราชพัสดุพื้นที่ 3,358 ไร่ บริเวณ ต.นครสวรรค์ออก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ห่างจากสถานีเดิมไปทางด้านซ้าย 2 กม. ห่างจากตัวเมือง 4 กม. ติดถนนพหลโยธิน
4.สถานีพิจิตร ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ อยู่ห่างจากสถานีรถไฟเดิมขึ้นไปทางด้านเหนือ 1 กม. และ 5.สถานีพิษณุโลก ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. ยังไม่สรุปจะเป็นสถานีรถไฟเดิม ที่พื้นที่มีหนาแน่น หรือห่างจากสถานีรถไฟลงมาด้านใต้ 4 กม. (ตรงข้ามกองบิน 46) ซึ่งโดยรอบยังเป็นพื้นที่โล่งและเกษตรกรรม
"สายกรุงเทพฯ-หัวหิน" มี 4 สถานี ประกอบด้วย
1.สถานีนครปฐม ขนาดพื้นที่ 6 ตร.กม. จะใช้พื้นที่สถานีรถไฟท่าแฉลบ อยู่ห่างจากศูนย์กลางเมือง 8 กม.
2.สถานีราชบุรี ขนาดพื้นที่ 3 ตร.กม. อยู่ห่างจากสถานีรถไฟราชบุรีเดิมลงมาด้านใต้ 3 กม.
3.สถานีเพชรบุรี ขนาดพื้นที่ 2 ตร.กม. อยู่ห่างสถานีรถไฟเพชรบุรีไปทางเหนือ 2 กม.ในแนวถนนเพชรเกษม และ 4.สถานีหัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) ขนาดพื้นที่ 3.3 ตร.กม. อยู่บริเวณบ่อฝ้าย ฝั่งตรงข้ามด้านทิศใต้ของสนามบินบ่อฝ้าย ห่างจากตัวเมือง 6 กม. และห่างจาก อ.ชะอำ 17 กม.
3.สถานีเพชรบุรี ขนาดพื้นที่ 2 ตร.กม. อยู่ห่างสถานีรถไฟเพชรบุรีไปทางเหนือ 2 กม.ในแนวถนนเพชรเกษม และ 4.สถานีหัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) ขนาดพื้นที่ 3.3 ตร.กม. อยู่บริเวณบ่อฝ้าย ฝั่งตรงข้ามด้านทิศใต้ของสนามบินบ่อฝ้าย ห่างจากตัวเมือง 6 กม. และห่างจาก อ.ชะอำ 17 กม.
"สายกรุงเทพฯ-นครราชสีมา" มี 3 สถานี ประกอบด้วย
1.สถานีสระบุรี ขนาดพื้นที่ 5 ตร.กม. ห่างจากสถานีรถไฟสระบุรีไปทางตะวันออก 4 กม. (เยื้องห้างโรบินสัน)
2.สถานีปากช่อง ขนาดพื้นที่ 6.2 ตร.กม. เป็นที่ราชพัสดุของกรมธนารักษ์ ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของกรมสรรพาวุธ กองทัพบก ห่างจากในเมืองและสถานีรถไฟปากช่องเดิม 5 กม. อยู่ ต.หนองสาหร่าย อ.ปากช่อง มีพื้นที่ 541 ไร่ ปัจจุบันสภาพพื้นที่มีการบุกรุกที่ดินของชุมชนท่ามะนาวใหม่ เป็นพื้นที่กสิกรรม พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และฟาร์มปศุสัตว์ สามารถใช้ประโยชน์สำหรับก่อสร้างย่านสถานีปากช่อง และพื้นที่เพื่อกิจการเชิงพาณิชย์ได้ทั้งหมด แต่จะต้องขอใช้พื้นที่สำหรับสร้างถนนเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ย่านสถานีกับถนนมิตรภาพสายเก่าและถนนมิตรภาพสายใหม่
3.สถานีนครราชสีมา ยังไม่สรุปอยู่ที่สถานีรถไฟนครราชสีมาเดิม ถนนมุขมนตรี ขนาดพื้นที่ 12 ตร.กม. หรือใช้ที่ดินสถานีรถไฟภูเขาลาด ขนาดพื้นที่ 5.25 ตร.กม. ห่างจากสถานีรถไฟนครราชสีมาไปด้านตะวันตก 6 กม. บริเวณ ต.บ้านใหม่อ.เมือง จ.นครราชสีมา ซึ่งบริเวณโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรม
สุดท้าย "สายกรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง" มี 5 สถานี ประกอบด้วย 1.สถานีฉะเชิงเทรา อยู่ที่สถานีรถไฟฉะเชิงเทราเดิม ห่างจากศูนย์กลางเมือง 1 กม. ขนาดพื้นที่ 4 ตร.กม.
2.สถานีชลบุรี ห่างจากสถานีรถไฟเดิมไปทางเหนือ 2 กม. ห่างจากตัวเมือง 4 กม. และนิคมอุตฯอมตะนคร 5 กม. ขนาดพื้นที่ 6 ตร.กม.
3.สถานีศรีราชา ขนาดพื้นที่ 1.3 ตร.กม. ห่างจากสถานีรถไฟศรีราชาไปทางใต้ 5 กม. และห่างจากนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง 3 กม.
3.สถานีนครราชสีมา ยังไม่สรุปอยู่ที่สถานีรถไฟนครราชสีมาเดิม ถนนมุขมนตรี ขนาดพื้นที่ 12 ตร.กม. หรือใช้ที่ดินสถานีรถไฟภูเขาลาด ขนาดพื้นที่ 5.25 ตร.กม. ห่างจากสถานีรถไฟนครราชสีมาไปด้านตะวันตก 6 กม. บริเวณ ต.บ้านใหม่อ.เมือง จ.นครราชสีมา ซึ่งบริเวณโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรม
สุดท้าย "สายกรุงเทพฯ-พัทยา-ระยอง" มี 5 สถานี ประกอบด้วย 1.สถานีฉะเชิงเทรา อยู่ที่สถานีรถไฟฉะเชิงเทราเดิม ห่างจากศูนย์กลางเมือง 1 กม. ขนาดพื้นที่ 4 ตร.กม.
2.สถานีชลบุรี ห่างจากสถานีรถไฟเดิมไปทางเหนือ 2 กม. ห่างจากตัวเมือง 4 กม. และนิคมอุตฯอมตะนคร 5 กม. ขนาดพื้นที่ 6 ตร.กม.
3.สถานีศรีราชา ขนาดพื้นที่ 1.3 ตร.กม. ห่างจากสถานีรถไฟศรีราชาไปทางใต้ 5 กม. และห่างจากนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง 3 กม.
4.สถานีพัทยา ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม. ใกล้หาดจอมเทียน และห่างจากสถานีรถไฟพัทยาไปด้านใต้ 8 กม.
5.สถานีระยอง มี 2 ทางเลือก เนื่องจากยังไม่มีแนวเส้นทางรถไฟ คือ 1.ห่างนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 1 กม. และห่างตัวเมืองระยอง 4 กม. ขนาดพื้นที่ 7 ตร.กม. และ 2.ด้านเหนือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 3 กม. และห่างตัวเมืองระยอง 6 กม. ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม.
ขณะที่ไซซ์สถานีรถไฟความเร็วสูงจะมีขนาด 200-300 ไร่ ส่วนเมืองใหม่รอบสถานีขนาดประมาณ 5,000-6,000 ไร่ ภายในมีองค์ประกอบครบ ทั้งระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย ที่จะจัดเซตมารองรับการเติบโตของเมืองและเศรษฐกิจ ที่ปัจจุบันคลื่นการลงทุนด้านแหล่งงานและที่อยู่อาศัยขยับขยายไปสู่หัวเมืองใหญ่ในภูมิภาคมากขึ้น
5.สถานีระยอง มี 2 ทางเลือก เนื่องจากยังไม่มีแนวเส้นทางรถไฟ คือ 1.ห่างนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 1 กม. และห่างตัวเมืองระยอง 4 กม. ขนาดพื้นที่ 7 ตร.กม. และ 2.ด้านเหนือนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด 3 กม. และห่างตัวเมืองระยอง 6 กม. ขนาดพื้นที่ 9 ตร.กม.
ขณะที่ไซซ์สถานีรถไฟความเร็วสูงจะมีขนาด 200-300 ไร่ ส่วนเมืองใหม่รอบสถานีขนาดประมาณ 5,000-6,000 ไร่ ภายในมีองค์ประกอบครบ ทั้งระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ พาณิชยกรรมและที่อยู่อาศัย ที่จะจัดเซตมารองรับการเติบโตของเมืองและเศรษฐกิจ ที่ปัจจุบันคลื่นการลงทุนด้านแหล่งงานและที่อยู่อาศัยขยับขยายไปสู่หัวเมืองใหญ่ในภูมิภาคมากขึ้น
Resource from :
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น